วันอาทิตย์ที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
บริโภค Folate and Vitamin B6 ให้เพียงพอ ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโรคหัวใจ
ข้อมูลจากการศึกษาชิ้นหนึ่งที่ทำในประเทศญี่ปุ่นระบุว่าการรับประทาน folate และวิตามินบี 6 จะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจาก stroke และโรคหลอดเลือดหัวใจอื่นๆ ได้ในผู้หญิง และอาจช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจล้มเหลวในผู้ชายได้อีกด้วย
การศึกษาดังกล่าวมีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ชาย 23,119 ราย และผู้หญิง 35,611 ราย (อายุระหว่าง 40-79 ปี) ที่ตอบแบบสอบถามที่จัดทำโดย Japan Collaborative Cohort study มีค่ากลางของระยะเวลาติดตามผล คือ 14 ปี
จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลในแบบสอบถามพบว่าผู้ชายที่รับประทาน folate และวิตามินบี6 ในปริมาณที่สูงกว่าจะมีการเสียชีวิตจากโรคหัวใจล้มเหลวต่ำกว่าอย่างมีนัยสำคัญ และผู้หญิงที่รับประทาน folate และวิตามินบี6 ในปริมาณสูงกว่าจะมีการเสียชีวิตจาก stroke , heart disease และ cardiovascular disease ต่ำกว่าอย่างมีนัยสำคัญ ส่วนการรับประทานวิตามินบี 12 นั้นไม่สัมพันธ์กับการลดลงของอัตราการเสียชีวิต และผลดังกล่าวของ folate และวิตามินบี 6 นั้นยังคงมีนัยสำคัญอยู่ แม้ว่าจะมีการปรับปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจ
นักวิจัยเชื่อว่ากลไกที่ทำให้เกิดผลดังกล่าวน่าจะมาจากการที่ folate และ วิตามินบี 6 สามารถลดระดับสาร homocystein ในเลือดได้นั่นเอง
ในไบออสไลฟ์ คอมพลีท ไม่ได้มีแค่ 4 กลไก ที่เราทราบกันเท่านั้น แต่ยังอุดมไปด้วย Folate และ วิตามินบี 6 ดังนั้นผู้ที่เป็นโรคหัวใจ หรือมีปัญหาโคเลสเตอรอลสูง ควรแนะนำให้เขาดื่ม ไบออสไลฟ์ คอมพลีท ก่อนอาหาร อย่างน้อยวันละ 2 มื้อ เป็นประจำตลอดไป
Reference : http://www.medscape.com/viewarticle/720645?sssdmh=dm1.613092&src=nldne&uac=112831HV
HDL หรือไขมันชนิดดี มีประโยชน์อย่างไร ต้องกินอะไรจึงได้ HDL?
HDL หรือไขมันชนิดดี มีประโยชน์อย่างไร ต้องกินอะไรจึงได้ HDL?
ไขมัน บางคนได้ยินคำนี้แล้วร้องยี้~~ เพราะคิดว่าไขมันนั้นมีแต่โทษถ้าทานเยอะเกินไป สะสมทำให้อ้วน เป็นโรคหลอดเลือด เป็นโรคหัวใจ
แต่จริงๆแล้ว ไขมันมีประเภทที่มีประโยชน์ด้่วยครับ เรียกง่ายๆว่า "ไขมันชนิดดี" นั่นเอง
ซึ่งชื่ออย่างเป็นทางการของไขมันชนิดดีนี้ ก็คือ HDL (เอชดีแอล) นั่นเองครับ
เอชดีแอลจัดเป็นคอเลสเตอรอลที่มีความหนาแน่นสูง ไม่เกิดโทษเหมือนคอเลสเตอรอลปกติ ซ้ำยังมีสรรพคุณป้องกันโรคหัวใจ โรคหลอดเลือด และโรคมะเร็งอีกด้วย (ตรงข้ามกับคอเลสเตอรอลปกติโดยสิ้นเชิง)
หน้าที่ของ HDL คือ ทำหน้าที่ขนส่ง cholesterol และ กรดไขมัน จากส่วนต่างๆ ของร่างกายไปที่ตับเพื่อทำลาย โดยใช้ enzyme LCAT(lecithin-cholesterol-acyl-transferase) เปลี่ยน chlolesterol ให้เป็น cholesterol ester เก็บไว้ในแกนกลางของ HDL-c HDL-c ตัวนี้เรียกว่า HDL3 ในระหว่างทางอาจจมีการรับ free fatty acid หรือ triglyceride จากพวกที่โดน lipase ย่อยสลายไว้ ก็จะมีโมเลกุลใหญ่ขึ้น เรียกว่าเป็น HDL2 แล้วจึงนำเข้าสู่ตับ แต่โมเลกุลของ HDL2 และ HDL3 นั้นอาจเปลี่ยนรูปไปมากันได้โดยอาศัย LCAT ช่วย
กรณีที่ผู้ป่วยที่มีระดับ HDL ต่ำกว่าปกติจะทำให้มีการสะสมของ cholesterol ในเนื้อเยื่อและผนังหลอดเลือดมากขึ้น ซึ่งเป็นสาเหตุเบื้องต้นที่สำคัญของการเกิดโรค atherosclerosis และ โรคหัวใจขาดเลือด
นอกจากนี้ HDL ยังมีบทบาทหน้าที่ที่สำคัญ ต่อผนังเยื่อบุหลอดเลือด และ ยับยั้งการจับตัวของลิ่มเลือด ช่วยให้เลือดไหลเวียนสะดวก ไม่อุดตัน
จึงเป็นผลดีต่อการป้องกันการเสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือด
ค่าระดับปกติของ HDL ที่เหมาะสม คือ 35-60 mg/dl
หาก HDL ต่ำกว่า 35 mg/dL = มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
หาก HDL สูงกว่า 60 mg/dL = ไม่มีความเสี่ยง หรือความเสี่ยงต่ำ
แล้วเราจะเพิ่มปริมาณ HDL ได้อย่างไรล่ะ? มีมากในอาหารประเภทไหน หรือต้องกินอะไร?
คำตอบก็ตามนี้ครับ
1. ทานอาหารที่มี Omega 3 (โอเมก้า 3) ครับ ซึ่งแหล่งที่มีโอเมก้า3 มากๆนั้นก็คือ เนื้อปลาจากทะเลลึก นั่นเองครับ ย้ำว่าต้องลึก เพราะจะห่างไกลจากการปนเปื้อนสารปรอทและโลหะหนัก เดี๋ยวจะเป็นมะเร็งไปซะก่อน
อาหารเสริมประเภท Fish Oil ก็มีโอเมก้า3 เยอะเช่นกันครับ แต่ควรเลือกที่มีความบริสุทธิ์เกรดยา (จะสังเกตว่า คนญี่ปุ่นนั้นอายุขัยเฉลี่ยยืนยาวที่สุดในโลก ซึ่งอาหารหลักของคนญี่ปุ่นก็คือเนื้อปลานั่นเอง)
** เสริมด้วยการดื่ม โภชนเภสัช ที่เป็นเครื่องดื่ม ที่มีส่วนผสม ของ ดอกเก้กฮวย และ วิตามินบี 3 ในรูป Niacin ซึ่งมีงานวิจัยทางการแพทย์พบว่า สามารถช่วยเพิ่ม HDL ได้ถึง 29%โดยเฉลี่ย หลังรับประทานนาน 2 เดือน ***
2. ออกกำลังกายแบบแอโรบิกเป็นประจำ เช่น การเต้นแอโรบิก จะช่วยเพิ่มปริมาณการสังเคราะห์ไขมันประเภทเอชดีแอลได้ครับ
3. การควบคุมน้ำหนักไม่ให้อ้วน ก็เป็นการเพิ่มเอชดีแอลอีกทางหนึ่ง พร้อมๆทั้งลดปริมาณไขมันชนิดไม่ดีไปในตัวด้วย
4. การดื่มแอลกอฮอล์บ้างในบางโอกาส เช่น ไวน์แดง ในปริมาณที่เหมาะสมไม่มากเกินไป จะช่วยเพิ่มปริมาณ เอชดีแอลได้ครับ
ไขมัน บางคนได้ยินคำนี้แล้วร้องยี้~~ เพราะคิดว่าไขมันนั้นมีแต่โทษถ้าทานเยอะเกินไป สะสมทำให้อ้วน เป็นโรคหลอดเลือด เป็นโรคหัวใจ
แต่จริงๆแล้ว ไขมันมีประเภทที่มีประโยชน์ด้่วยครับ เรียกง่ายๆว่า "ไขมันชนิดดี" นั่นเอง
ซึ่งชื่ออย่างเป็นทางการของไขมันชนิดดีนี้ ก็คือ HDL (เอชดีแอล) นั่นเองครับ
เอชดีแอลจัดเป็นคอเลสเตอรอลที่มีความหนาแน่นสูง ไม่เกิดโทษเหมือนคอเลสเตอรอลปกติ ซ้ำยังมีสรรพคุณป้องกันโรคหัวใจ โรคหลอดเลือด และโรคมะเร็งอีกด้วย (ตรงข้ามกับคอเลสเตอรอลปกติโดยสิ้นเชิง)
หน้าที่ของ HDL คือ ทำหน้าที่ขนส่ง cholesterol และ กรดไขมัน จากส่วนต่างๆ ของร่างกายไปที่ตับเพื่อทำลาย โดยใช้ enzyme LCAT(lecithin-cholesterol-acyl-transferase) เปลี่ยน chlolesterol ให้เป็น cholesterol ester เก็บไว้ในแกนกลางของ HDL-c HDL-c ตัวนี้เรียกว่า HDL3 ในระหว่างทางอาจจมีการรับ free fatty acid หรือ triglyceride จากพวกที่โดน lipase ย่อยสลายไว้ ก็จะมีโมเลกุลใหญ่ขึ้น เรียกว่าเป็น HDL2 แล้วจึงนำเข้าสู่ตับ แต่โมเลกุลของ HDL2 และ HDL3 นั้นอาจเปลี่ยนรูปไปมากันได้โดยอาศัย LCAT ช่วย
กรณีที่ผู้ป่วยที่มีระดับ HDL ต่ำกว่าปกติจะทำให้มีการสะสมของ cholesterol ในเนื้อเยื่อและผนังหลอดเลือดมากขึ้น ซึ่งเป็นสาเหตุเบื้องต้นที่สำคัญของการเกิดโรค atherosclerosis และ โรคหัวใจขาดเลือด
นอกจากนี้ HDL ยังมีบทบาทหน้าที่ที่สำคัญ ต่อผนังเยื่อบุหลอดเลือด และ ยับยั้งการจับตัวของลิ่มเลือด ช่วยให้เลือดไหลเวียนสะดวก ไม่อุดตัน
จึงเป็นผลดีต่อการป้องกันการเสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือด
ค่าระดับปกติของ HDL ที่เหมาะสม คือ 35-60 mg/dl
หาก HDL ต่ำกว่า 35 mg/dL = มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
หาก HDL สูงกว่า 60 mg/dL = ไม่มีความเสี่ยง หรือความเสี่ยงต่ำ
แล้วเราจะเพิ่มปริมาณ HDL ได้อย่างไรล่ะ? มีมากในอาหารประเภทไหน หรือต้องกินอะไร?
คำตอบก็ตามนี้ครับ
1. ทานอาหารที่มี Omega 3 (โอเมก้า 3) ครับ ซึ่งแหล่งที่มีโอเมก้า3 มากๆนั้นก็คือ เนื้อปลาจากทะเลลึก นั่นเองครับ ย้ำว่าต้องลึก เพราะจะห่างไกลจากการปนเปื้อนสารปรอทและโลหะหนัก เดี๋ยวจะเป็นมะเร็งไปซะก่อน
อาหารเสริมประเภท Fish Oil ก็มีโอเมก้า3 เยอะเช่นกันครับ แต่ควรเลือกที่มีความบริสุทธิ์เกรดยา (จะสังเกตว่า คนญี่ปุ่นนั้นอายุขัยเฉลี่ยยืนยาวที่สุดในโลก ซึ่งอาหารหลักของคนญี่ปุ่นก็คือเนื้อปลานั่นเอง)
** เสริมด้วยการดื่ม โภชนเภสัช ที่เป็นเครื่องดื่ม ที่มีส่วนผสม ของ ดอกเก้กฮวย และ วิตามินบี 3 ในรูป Niacin ซึ่งมีงานวิจัยทางการแพทย์พบว่า สามารถช่วยเพิ่ม HDL ได้ถึง 29%โดยเฉลี่ย หลังรับประทานนาน 2 เดือน ***
2. ออกกำลังกายแบบแอโรบิกเป็นประจำ เช่น การเต้นแอโรบิก จะช่วยเพิ่มปริมาณการสังเคราะห์ไขมันประเภทเอชดีแอลได้ครับ
3. การควบคุมน้ำหนักไม่ให้อ้วน ก็เป็นการเพิ่มเอชดีแอลอีกทางหนึ่ง พร้อมๆทั้งลดปริมาณไขมันชนิดไม่ดีไปในตัวด้วย
4. การดื่มแอลกอฮอล์บ้างในบางโอกาส เช่น ไวน์แดง ในปริมาณที่เหมาะสมไม่มากเกินไป จะช่วยเพิ่มปริมาณ เอชดีแอลได้ครับ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)